วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 25 August 2015

Diary Note No.2

Substance
พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive development)
คือ ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษาและการคิดของแต่ละบุคคล
พัฒนาขึ้นมาจารมีปฏิสัมพันธ์(interaction)กับสิ่งแวดล้อม
-เริ่มตั้งแต่แรกเกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก ตน  (self)
-การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้
เกิดความสมดุล(equilibrium)
-การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 

กระบวนการปฏิสัมพันธ์(interaction) มี2กระบวนการ
1.กระบวนการดูดซึม (assimilation)
-fitting a new experience into an exisiting mental structure (schema)
2.กระบวนการปรับโครงสร้าง(accommodation)
-revising an exisiting schema because of new experirnce.

การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดลล้อม
-Equilibrium-seeking cognitive stability through assimilation and accomodation.

การดูดซึมเพื่อประสบการณ์ใหม่

สรุป-สติปัญญาจึงเกิดการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล

-ทบทวนทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจย์

Technical Education
-Has been critical thinking skills
Adoption
-นำกระบวนการต่างๆไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเด็กได้
Teaching Evaluation
-อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีน้ำเสียงไพเราะ เหมาะสมกับการเรียนการสอน


วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

สรุปบทความเรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ


บทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสรุปได้ดังนี้
   วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย  ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราเกิดความตระหนักมากขึ้นและพยายามที่เขียนอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
   เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไรสามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ เด็กสามารถสังเกตและสื่อสารเกี่ยวเรื่องดิน หิน อากาศและท้องฟ้า เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุ พลังงานจากแม่เหล็ก แสงและเสียง เด็กสามารถสำรวจลักษณะของน้ำและความร้อน กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาโดยทำให้เด็กได้รับความรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น การสังเกต การจำแนกประเภท การเรียงลำดับ การวัด การคาดคะแน และการสื่อสาร รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้

   กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนเด็กปฐมวัยมีความสำคัญหลายประการดังนี้
ส่งเสริมการเห็นคุณค่าของตนเองและมีความกระตือรือร้น (คือเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้)
ส่งเสริมการทำงานรายบุคคลและการคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาของเด็ก
ยอมรับรูปแบบการเรียนรู้จากวัสดุอุปกรณ์ซึ่งจะช่วยสร้างประสบการณ์ที่เป็นธรรมชาติ การรับรู้และความพยายามของเด็กหลายคนจากการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีความสำคัญต่อการรับรู้ชีวิต เรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์การทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
เพื่อเป็นการช่วยอธิบายความเข้าใจด้วยตัวเองของเด็ก
ดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมของเด็กที่ปรากฎ เช่น การแสดงความกังวลใจ เด็กที่เกิดความเบื่อ
กิจกรรมการค้นพบช่วยให้ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ อยากสืบค้นต่อไป
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางสติปัญญาของเด็กจากการเรียนรู้ที่เด็กได้สัมผัสกับวัสดุอุปกรณ์ ทำให้เด็กมีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมที่มีความยากขึ้น เด็กได้เรียนรู้ภาษาและเนื้อหาสาระแบบบูรณาการ เช่น วิธีการได้รับประสบการณ์ทางภาษาแบบธรรมชาติต่อการอ่าน วิธีการสอนแบบโครงการต่อการพัฒนาหลักสูตร การใช้ประสาทสัมผัส และการใช้กล้ามเนื้ออย่างเหมาะสมกับวัย

วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 11 August 2015

Diary Note No.1

Substance
Learning Outcomes
 1.คุณธรรม จริยธรรม
2.ความรู้
3.การใช้เทคโนโลยี
4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
5.ทักษะทางปัญญา
6.การจัดการเรียนรู้

.......Development
-สติปัญญา คือภาษาและการคิด
การคิด-สร้างสรรค์และเชิงเหตุผล
เชิงเหตุผลคือคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

......How to Learn 
 คือการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลง คือการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ระหว่างวัตถุ คือ ตาดู หูฟัง ลิ้นชิมรส จมูกดมกลิ่น กายสัมผัส 
เครื่องมือในการเรียนรู้ คือ ภาษาและคณิตศาสตร์

.....The experience
-หลักการจัดประสบการณ์
-เทคนิคการจัดประสบการณ์
-กระบวนการจัดประสบการณ์
-ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
-สื่อและสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
-การประเมินผล

.....Science
-สาระสำคัญ
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์


Technical Education
-Has been critical thinking skills
-Has been ask and answer skills
Adoption
-นำทักษะต่างๆไปใช้กับเด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็กได้มีการพัฒนาการที่ดี
Teaching Evaluation
-อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีน้ำเสียงไพเราะ เหมาะสมกับการเรียนการสอน