วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 15 September 2015

Diary Note No.5

Substance
แจกกระดาษคนละ1ใบ และให้เขียนการทำงานของสมองมีอะไร้บางและให้แชร์ความรู้กันในห้อง


หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาการเด็ก
กีเซล (Gesell)
  • พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ควรเร่งรีบ
  • การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหว การใช้ภาษา (language) การปรับตัวเข้าสู่สังคมบุคคลรองข้าง
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • ให้เด็กได้เล่นกลางแจ้ง
  • จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกการใช้มือและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา
  • จัดกิจกรรมให็เด็กได้ฟัง ได้ท่องจำ นิทาน ร้องเพลง
ฟรอยด์ (Freud)
  • ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อเติบโต
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก
  • จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอน
  • จัดสิ่งแวดล้อม บ้าน และโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพ
อิริคสัน ( Erikson )
  • ถ้าเด็กอยู่ในสังคมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่น
  • ถ้าเด็กอยู่ในสงคมที่ไม่ดี เด็กจะมองโลกในแง่แย่ ขาดความไว้วางใจ
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จ พึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่ดี
  • จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กได้มีโอกาศ สร้างปฏิสัมพันธ์
เพียเจต์ ( Piaget) 
  • พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบรอบตัวเด็กมีการรับรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่เกิดขึ้นตลอดเวลาและมีการปรับขยายประสบการณ์เดิมความคิดและความหมายมากขึ้น
  • พัฒนาการของเด็กปฐมวัย 0-6 ปี 
      1) ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหววัย 0-2 ปี เด็กเรียนรู้ทุกอย่างทางประสาทสัมผัสทุด้าน 
      2) ความคิดก่อนปฏิบัติการวัย 2 เดือน 6 ปี เริ่มเรียนภาษาพูดและภาษาท่าทางในการสื่อสาร

แนวปฏิบัติพัฒนาการเด็ก 
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กิจกรรมสำรวจทดลองกิจกรรมประกอบอาหารทัศนศึกษา
  • จัดให้เด็กฝึกฝนทักษะสังเกตจำแนกเปรียบเทียบ เช่น การเล่นเกมการศึกษาการเรียนรู้จากสื่อของจริงการสำรวจทดลอง
  • จัดให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวไปสู่เรื่องไกลตัวเรียนรู้จักหน่วยตามความสนใจและเรียนรู้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมก่อน
ดิวอี้ ( Dewey)
  • เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ Learning by doing
แนวปฏิบัติพัฒนาการเด็ก     
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู
สกินเนอร์ (Skinner) 
  • ถ้าเด็กได้รับคำชมเชยและประสบความสำเร็จในการทำกิจกรรมเด็กจะสนใจที่จะทำต่อไป
  • เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างไม่มีใครเหมือนใคร
แนวปฏิบัติพัฒนาการเด็ก     
  • ให้แรงเสริม เช่น ชมเชย ชื่นชม เมื่อเด็กทำกิจกรรมประสบผลสำเร็จ
  • ไม่นำเด็กมาเปรียบเทียบแข่งขันกัน
เปสตาลอสซี่ ( Pestalozzi)
  • ความรักเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ไม่ควรบังคับเด็ก
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลา
เฟรอเบล ( Froeble)
  • ส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติ
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมเรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างเสรี
เอลคายน์ ( Elkind )
  • การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตราย เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง จัดบรรยากาสให้เด็กได้มีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมด้วยตัวเอง
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง
สรุป
แนวคิดพื้นฐานทางวิมยาศาสตร์
1การเปลี่ยนแปลง
2ความแตกต่าง
3การปรับตัว
4การพึ่งพาอาศัยกัน
5ความสมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1ขั้นกำหนดปัญหา
2ขั้นตั้งสมมติฐาน
3ขั้นรวบรวมข้อมูล
4ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
1ความอยากรู้อยากเห็น
2ความเพียรพยายาม
3ความมีเหตุผล
4ความซื่อสัตย์
5ความมีระเบียบและรอบคอบ
6ความใจกว้าง

นำเสนอบทความ เลข 1-3

เลข 1 วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่น การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ

เลขที่ 2 สอนลูกเรื่องปรากฎกาณ์ทางธรรมชาติ
     การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ทางธรรมชาติดส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ทักษะการค้นพบ อธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ

เลขที่ 3 แนวทาง สอนคิด เติมวิทยาศาสตร์ ให้กับเด็กอนุบาล
  1. ตั้งคำถาม
  2. ให้เด็กออกไปหาคำตอบ
  3. อธิบายเสริมจากคำตอบของเด็ก
  4. เด็กมานำเสนอให้เพื่อน
  5. นำข้อมูลไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอน (Technical Education)
-ใช้สือเป็นเพอเวอพอยในการสอนหรือบรรยายเนื้อหาต่างๆและเริ่มจากหลักการแล้วมาสรุปหลักการ
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
-รู้เรื่องวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับนักทฤษฎีหลายๆคน
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
-นำทักษะต่างๆไปประยุกต์ใช้ในรุ่นต่อๆไป
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-อาจารย์แบ่งปันความรู้ให้นักศึกษาอย่างเต็มที่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น