-เลขที่ 4 นำเสนอวิจัย เรื่องการศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
-นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
กล้องสลับลาย
อุปกรณ์
•เทปกาว
•กรรไกร
•กระจก
3
แผ่น
•กระดาษฝ้า
•กระดาษสี
•ลูกปัด
•กระดาษห่อตกแต่ง
และสิ่งของตกแต่ง
ขั้นตอนการเล่น
ให้มองผ่านช่องที่เจาะไว้ด้านบน
ขณะมองให้หมุนกล้องไปเรื่อยๆ ช้าๆ ภาพที่เห็นในกล้องมาจากหลักการสะท้อนของแสง
โดยแสงในกล้องสะท้อนจากกระจกแผ่นหนึ่งไปยังกระจก
แผ่นอื่นทำให้เกิดภาพที่เห็นมีรูปแบบต่างๆ เมื่อ หมุนกล้องภาพก็จะเปลี่ยนรูปแบบไปด้วยกล้องส่วนใหญ่ใช้กระจกระนาบ
วางทำมุม 60
องศา ซึ่งทำให้เกิดเป็นภาพที่เสมือนมีกระจก อยู่ 6
ด้าน เท่าๆ กันทุกด้าน
ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
การใช้กล้องจะช่วยเสริมความเข้าใจในเรื่องการสะท้อนของแสง
โดย เราจะเห็นภาพรูปทรงแปลกตาขณะที่หมุนกระจกไปมา
การมองเห็นภาพที่แปลกตาและน่าอัศจรรย์เหล่านี้เกิดจากแสงสะท้อนไปมาระหว่างกระจกทั้งสามและยังเกิดความเพลิดเพลินกับจินตนาการที่เกิดจากการเห็นภาพในกล้อง
อาจเชื่อมโยงไปสู่งานศิลปะ การออกแบบลวดลายต่างๆ ได้อีกด้วย
เทคนิคการสอน (Technical Education)
-ให้นักศึกษาฝึกการกล้าแสดงออกในการนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของแต่ละคน
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
-สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละคน
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
-นำสิ่งประดิษฐ์ของเพื่อนไปสอนเด็กได้
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-อาจารย์อธิบายรายละเอียดทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งประดิษฐ์อย่างละเอียด
-ให้นักศึกษาฝึกการกล้าแสดงออกในการนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของแต่ละคน
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
-สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละคน
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
-นำสิ่งประดิษฐ์ของเพื่อนไปสอนเด็กได้
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
-อาจารย์อธิบายรายละเอียดทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งประดิษฐ์อย่างละเอียด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น